grandprixactual (1)
Search
Close this search box.

ประเพณีก่อพระเจดีย์ทราย

     ประเพณีก่อพระเจดีย์ทราย  ในสมัยอดีตนั้นผู้คนส่วนใหญ่เมื่อถึงในช่วงวันสงกรานต์ซึ่งมักจะตรงกับวันที่ 13 ถึงวันที่ 15 ของเดือนเมษายนทุกปีจะมีการจัดกิจกรรมประเพณีทำบุญตักบาตรในวันสงกรานต์

ซึ่งทุกคนไม่ว่าจะอยู่จังหวัดไหนหรืออำเภอตำบลอะไรก็มักจะมารวมตัวกันตั้งแต่เช้าตรู่ที่วัดเพื่อร่วมทำบุญตักบาตรร่วมกันหลังจากที่ทำบุญตักบาตรแล้วก็จะมีพิธีการสรงน้ำพระในวัดดังกล่าวหลังจากนั้นก็จะเป็นการละเล่นซึ่งแต่ละคนนั้นก็จะมีการแยกตัวไปเล่นบางคนอาจจะเล่นสาดน้ำกันในวัดหรืออาจจะไปเล่นข้างนอกด้วยปัจจุบันนี้ไม่มีการเล่นสาดน้ำกันในวัดแล้วส่วนใหญ่จะไปเล่นตามสวนสาธารณะที่มีคนหนาแน่น

       อย่างไรก็ตามในสมัยอดีตนั้นพอตกเย็นผู้คนจะรวมตัวกันที่วัดอีกครั้งหนึ่งเพื่อที่จะเข้าร่วมประเพณีก่อพระเจดีย์ทรายโดยคนแต่ละคนนั้นจะต้องมีการขนทรายมาเพื่อสร้างเจดีย์ทรายภายในวัดซึ่งแต่ละคนนั้นก็จะมีการสร้างเจดีย์ทรายแข่งขันกันมีการตกแต่งให้สวยงามมีการประกวดแข่งขันกันว่าเจดีย์ทรายของใครนั้นจะสวยกว่ากัน

        ปัจจุบันประเพณีการก่อเจดีย์ทรายของแต่ละพื้นที่นั้นถูกยกเลิกไปสาเหตุนั้นก็เพราะว่าวัยรุ่นส่วนใหญ่ไม่ค่อยยึดมั่นตามประเพณีเก่าแก่

ส่วนคนสูงวัยที่เคยจัดประเพณีก่อกองทรายนั้นก็ล้มหายตายจากไปเป็นจำนวนมากนอกจากนี้ยังค่อนข้างหายากไม่เหมือนในสมัยอดีตอีกด้วยดังนั้นประเพณีก่อพระเจดีย์ทรายจึงเป็นกิจกรรมที่มีเฉพาะบางพื้นที่เท่านั้นในปัจจุบันนี้

         อย่างไรก็ตามที่จังหวัดชลบุรี  ยังคงมีประเพณีการก่อพระเจดีย์ทรายขึ้นโดยมีการจัดประเพณีนี้ขึ้นที่เกาะขามใหญ่โดยจะมีการจัดประเพณีก่อพระเจดีย์ทรายในเดือนเมษายนของวันที่ 18   โดยมีความเชื่อว่าการจัดกิจกรรมประเพณีก่อพระเจดีย์ทรายนั้น      สมัคร gclub ไม่มีขั้นต่ำ    จะเป็นการเชื่อมโยงให้คนนับถือในพระพุทธศาสนาและยังเชื่อในเรื่องของกฎแห่งกรรม

        อย่างไรก็ตามในความเป็นจริงแล้วการจัดประเพณีการก่อพระเจดีย์ทรายนั้นก็เพราะว่าตั้งแต่ในสมัยอดีตแล้วผู้คนเดินทางมาทำบุญที่วัดเมื่อมาทำบุญที่วัดก็มีการเหยียบย่ำดินซึ่งอาจจะมีการเหยียบเอาทรายติดออกไปนอกวัดทำให้ทรายในวัดนั้นมีน้อยลง ดังนั้นจึงได้มีแนวความคิดที่ให้คนนั้นขนทรายเข้ามาแต่ใช้เป็นลักษณะของกุศโลบายโดยจัดประเพณีขึ้นเป็นประเพณีก่อพระเจดีย์ทรายให้คนนั้นมาก่อเจดีย์ทรายภายในวัดก็คือเป็นการขนทรายเข้ามาในวัดเพื่อให้พระวัดนั้นมีชายเหมือนเดิม  

           ประเพณีนี้ทำให้คนในชุมชนนั้นได้พบปะพูดคุยทำกิจกรรมร่วมกันมีความสามัคคี นอกจากนี้ไฟล์ที่เหลือหลังจากที่ทางวัดได้มีการเกลี่ยถมพื้นที่ภายในวัดเสร็จเรียบร้อยแล้วก็สามารถนำไฟล์ดังกล่าวไปใช้ทำประโยชน์ด้านอื่นๆได้เช่นใช้ในการซ่อมสะพานหรือนำไปก่อสร้างถนนหนทางต่างๆนั่นเอง