grandprixactual (1)
Search
Close this search box.

ประวัติ มหาตมะคานธี 

    ประวัติ มหาตมะคานธี    เชื่อว่าหลายคนคงเคยได้ยินชื่อเสียงของ บุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร์คนหนึ่งของประเทศอินเดีย  หรืออาจจะกล่าวได้ว่าเขาเป็นบุคคลสำคัญของโลกคนหนึ่งเลยก็ว่าได้ เนื่องจากบุคคลนี้ได้ทำคุณประโยชน์ให้กับเพื่อนมนุษย์ด้วยกันเป็นอย่างมาก สำหรับชายที่เรากำลังพูดถึงอยู่ในขณะนี้ก็คือ มหาตมะคานธี  

       สำหรับชื่อจริงของเขานั้น เขามีชื่อเต็มว่า  โมฮันทาน การัมจันทร์ คานธี ท่านที่เกิดวันที่ 2 ตุลาคม ปี  ค.ศ. 1869 ที่เมืองโปรพันธะแคว้นคชรัตน์ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย    สำหรับ มหาตมะคานธี นั้นท่านนับถือศาสนาฮินดูแต่กำเนิดใช้ชีวิตอยู่ในวรรณะแพศย์ครั้งเมื่อคดีอายุ 18 ปี มหาตมะคานธี จึงได้เรียนวิชากฎหมายที่ประเทศอังกฤษ  นอกจากนี้ยังได้มีการ ปฏิญาณต่อมารดาว่าเขาจะไม่ยุ่งเกี่ยวกับสุรา และนารี อย่างเด็ดขาด 

        หลังจากการศึกษาต่อไม่นานเขาก็สำเร็จการศึกษา  แล้วหลังจากนั้น คานธี ก็ได้ เดินทางกลับอินเดียซึงตรงกับในปี ค.ศ. 1891 มหาตมะคานธีนั้นถือได้ว่าเป็นบุคคลสำคัญที่ยิ่งใหญ่และมีคุณูปการต่อผู้คนทั้งในอินเดียและระดับโลก  เลยก็ว่าได้ เพราะว่าเส้นทางของเขาเริ่มต้นขึ้นเมื่อคานธีเปิดสำนักทนายความในประเทศอินเดียอยู่เป็นระยะเวลาหนึ่งแต่ไม่ประสบความสำเร็จเขาจึงตัดสินใจทำงานเป็นทนายความให้กับนักธุรกิจชาวอินเดียมุสลิมที่มีบริษัทอยู่ในประเทศแอฟริกาใต้ในปี ค.ศ.  1893 

         การไปทำงานที่แอฟริกาใต้นี้เองที่ทำให้เขาพบว่าชาวอินเดียที่เป็นแรงงานอยู่ประเทศดังกล่าวถูกปฏิบัติอย่างเอาเปรียบอย่างมาก เมื่อรู้ดังนั้น  มหาตมะคานธี  จึงตัดสินใจอยู่ที่แอฟริกาใต้เกินกว่ากำหนดและต่อสู้เรียกร้องความเป็นธรรมให้กับแรงงานเหล่านั้นโดยใช้วิธีการต่อสู้แบบสัตยาเคราะห์คือวิธีที่ไม่ฝักใฝ่ความรุนแรงไม่ใช้กำลังแต่ใช้พลังธรรมะ

ซึ่งการต่อสู้แบบสัตยาเคราะห์มีองค์ประกอบ 3 ประการคือ สัตย์หมายถึงความจริง หมายถึงการไม่เบียดเบียนให้เสียเลือดเสียเนื้อและ  การดื้อแพ่งหมายถึงการไม่ปฏิบัติตามกฎหมายอย่างสงบและการไม่ให้ความร่วมมือแก่ทางราชการเช่นการหยุดงานการไม่จ่ายภาษีหลังจากการต่อสู้ด้วยวิธีสัตยาเคราะห์จนประสบความสำเร็จในปี 1915 

      มหาตมะคานธี   ได้เดินทางกลับบ้านเกิดประเทศอินเดียและได้รับความไว้วางใจจากพรรคคองเกรสให้เป็นผู้นำต่อต้านกฎหมายเช่นพระราชบัญญัติ roasted ปี 1919 กฎหมายภาษีเกลือปี 1930 และเขาก็ได้กระทำการยิ่งใหญ่ต่อสู้เรียกร้องด้วยวิธีสัตยาเคราะห์จนทำให้อินเดียได้รับเอกราชจากอังกฤษในปี 1947 ในที่สุด

         มหาตมะคานธี ถึงแก่มรณภาพหลังจากที่อินเดียได้รับเอกราชเพียง 5 เดือนด้วยสาเหตุถูกลอบยิงจากชาวฮินดูหัวรุนแรงเมื่อวันที่ 30 มกราคมปี ค.ศ.1948 โดยคุณอุปการที่มหาตมะคานธีมีต่อประเทศอินเดียเขาจึงได้รับการยกย่องให้เป็นบิดาแห่งชาติอินเดียและขณะเดียวกันองค์การสหประชาชาติก็กำหนดให้วันเกิดของเขาคือวันที่ 2 ตุลาคมเป็นวันไม่ใช้ความรุนแรงของสากล 

 

 

สนับสนุนโดย.  สมัคร gclub ไม่มีขั้นต่ำ